THE GREATEST GUIDE TO รีวิวเครื่องเสียง

The Greatest Guide To รีวิวเครื่องเสียง

The Greatest Guide To รีวิวเครื่องเสียง

Blog Article

เปิดฝาครอบกันฝุ่นอย่างช้า ๆ ระวังอย่าให้หนีบนิ้ว เช่นampเมื่อเปิดและปิดฝาครอบกันฝุ่น

การจัดเพลย์ลิสต์ที่ทำได้สะดวกง่ายดายตามมาตรฐาน

เสียงกลางที่ได้จากอินทิเกรตแอมป์รุ่นนี้มีลักษณะเปิดเผยเจือไว้ด้วยความนุ่มนวล มีความสดใสเป็นธรรมชาติพอประมาณให้สัมผัสรับรู้ได้ โดยมีจุดเด่นตรงน้ำเสียงที่ฟังสบายหู ขณะที่เสียงทุ้มก็มีเนื้อมีหนังมีน้ำหนักเพียงพอที่จะฟังเพลงทุกแนวได้อย่างสนุกเร้าใจ

” ซึ่งตัวนี้มีความพิเศษคือเป็นทั้ง absorber และ diffuser ในตัวเดียวกัน นั่นคือตัวมันมีคุณสมบัติทั้งดูดซับพลังงานคลื่นเสียงและสะท้อนพลังงานคลื่นเสียงไปในเวลาเดียวกัน

“ขนาด” และ “สัดส่วนของห้องฟัง” เป็นตัวแปรสำคัญอันดับหนึ่งที่ส่งผลต่อลักษณะและคุณภาพเสียงที่ออกมาจากลำโพง ส่วนสภาพอะคูสติกบนผนัง, พื้น และเพดานของห้องมีความสำคัญมากรองลงมาเป็นอันดับสอง การขยับลำโพงเปลี่ยนตำแหน่งวางโดยคงที่สภาพอะคูสติกเอาไว้ หรือในทางกลับกันคือคงที่ตำแหน่งลำโพงแต่ไปปรับเปลี่ยนสภาพอะคูสติกบนผนัง, พื้น หรือเพดาน ทั้งสองทางนี้ล้วนส่งผลต่อเสียงที่ออกจากลำโพงมาถึงหูของผู้ฟัง “อย่างมาก” ซึ่งขั้นตอนที่ถูกต้องในการปรับจูนเสียงของลำโพงในห้องฟังให้เริ่มต้นด้วยการกำหนดตำแหน่งวางลำโพงภายในห้องที่ทำให้เกิดปัญหา

ทำงานราบรื่น เรียนสะดวก ด้วยเครื่องบันทึกเสียงดีๆ ที่มาพร้อมฟังก์ชั่นที่หลากหลาย

อย่างไรก็ดี ที่ฐานล่างของเครื่องก็ได้รับการออกแบบให้มีขายางที่มีความยืดหยุ่นและให้ตัวได้ประมาณหนึ่งเพื่อบรรเทาแรงสั่นสะเทือนส่วนเกินจากปัจจัยแวดล้อม ก็ถือว่าเป็นความพยายามในการทำให้เครื่องทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพภายใต้ต้นทุนอันจำกัด

ของเสียง แต่ข้อด้อยคือ ลักษณะของเสียงที่ยังไม่ค่อยเปิดโปร่ง, ช่องไฟระหว่างเสียงดนตรีแต่ละชิ้นไม่ค่อยถ่างกว้าง โดยเฉพาะเสียงกลองกับเบสยังเกาะกันเป็นกระจุก ฟังในบางซิสเต็มจะรู้สึกอึดอัด – ผมเลือกอัลบั้มนี้มาทดสอบเพื่อดูว่าตัวเพาเวอร์ คอนดิชั่นเนอร์จะสามารถช่วยแก้ไขจุดอ่อนของอัลบั้มนี้ได้มากแค่ไหน เพลงในอัลบั้มนี้ที่ผมตั้งใจฟังเป็นพิเศษในการวัดผลคือแทรคแรก เพลง “

การทำสภาพอะคูสติกภายในห้องที่ใช้อยู่อาศัยทั่วไปให้มีคุณสมบัติที่เป็นกลาง คือไม่ทำให้ความถี่ย่านใดดังขึ้นมามากเกินไป รีวิวเครื่องเสียง หรือเบาลงไปมากเกินไป นับว่าเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อนมาก โดยเฉพาะถ้าเป็นการปรับจูนสภาพอะคูสติกของห้องให้ได้ผลในการฟังเพลงที่ดีด้วย นอกจากจะต้องคำนึงถึงเรื่องของปัญหา

เมื่อเสียบแจ๊คหูฟังเข้าที่ช่องนี้ สัญญาณเอ๊าต์พุตที่ขั้วต่อสายลำโพงด้านหลังจะถูกตัดลงไป สัญญาณเสียงจะมาออกที่ช่องหูฟังทันที ส่วนการปรับวอลลุ่ม, บาลานซ์ และปรับทุ้ม/แหลมจะส่งผลกับเสียงของช่องหูฟังเหมือนกับที่ใช้กับเอ๊าต์พุตด้านหลัง

 ไม่ได้เข้าไปทำให้เท็มโป้ของเพลงเพี้ยนไปเลย จังหวะและลีลาของเพลงยังคงตรงตามเพลงที่ฟัง ทั้งช้า, ปานกลาง และเร็ว และที่น่าชื่นใจก็คือ ช่องไฟระหว่างชิ้นดนตรีที่เปิดกว้างมากขึ้น ทำให้รู้สึกถึงความโปร่งภายในวง ความรู้สึกอึดอัดนิดๆ ของเพลงนี้ตอนฟังผ่านปลั๊กรางธรรมดาหายไปเกือบหมด สามารถติดตามลีลาการเคลื่อนตัวของแต่ละเสียงได้ชัดขึ้น รับรู้รายละเอียดลึกๆ ของแต่ละตัวเสียงได้ชัดเจนมากขึ้น หัวเบสมีน้ำหนักย้ำเน้นและทอดหางเสียงไปได้ไกล (ปรีแอมป์เป็นหลอด) ซาวนด์สเตจเยี่ยมมาก!

ม. แล้วดึงลำโพงทั้งสองข้างลงไปชิดกับผนังด้านหลัง จากนั้นให้ติดตั้งตัว

ซึ่งกันและกัน เหตุผลที่ต้องทำแบบนี้เป็นเพราะพื้นฐานของระบบเสียงสเตริโอที่ใช้การกระจายคลื่นเสียงผ่านออกมาทางลำโพงสองตัว เข้ามาผสมกันตรงตำแหน่งนั่งฟังกลายเป็นสนามเสียงเดียวกัน ดังนั้น ลำโพงซ้าย–ขวาจะต้องมีคุณสมบัติในการกระจายเสียงที่เหมือนกันทุกประการ (เฟส, ความถี่ตอบสนอง, ไดนามิกเร้นจ์) รวมถึงสภาพอะคูสติกที่อยู่รอบๆ ลำโพงทั้งสองข้างก็ต้องเหมือนกันด้วย

เป็นเพาเวอร์ คอนดิชั่นเนอร์ที่ออกแบบมาได้เหมาะสมกับงบประมาณมาก ตอนใช้งานร่วมกับ

Report this page